วันพุธที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2558




บทที่เรื่อง นิราศนริทร์คำโคลง
ความเป็นมา
      นิราศ เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทย
ที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน 
นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย
ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา อ่านต่อ




 


บทที่เรื่อง นิทานเวตาล(เรื่องที่10)
                                                                 

ความเป็นมา
 นิทานเวตาล ฉบับนิพนธ์ พระราชวงศ์เธอ 
กรมหมื่นพิทยาลงกรณ
 มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย 
 โดยมีชื่อเดิมว่า 
เวตาลปัญจวิงศติ” ศิวทาสได้แต่งไว้ใน
สมัยโบราณ
  ต่อมาได้มีผู้นำนิทานเวตาลทั้งฉบับ
ภาษาสันสกฤตและภาษาฮินดี
มาแปลเป็นภาษาอังกฤษ โดย
ร้อยเอก เซอร์ ริชาร์ด เอฟ. เบอร์ตัน 
 ก็ได้นำมาแปลและเรียบเรียงแต่งแปลง
เป็นสำนวนภาษาของตนเอง
ให้คนอังกฤษอ่าน แต่ไม่ครบทั้ง 25 เรื่อง
 กรมหมื่นพิทยาลงกรณ
ได้ทรงแปลนิทานเวตาลจากฉบับของเบอร์ตัน 
จำนวน 9 เรื่องและจากฉบับแปลสำนวนของ
 ซี. เอช. ทอว์นีย์   อีก 1 เรื่อง
รวมเป็นฉบับภาษาไทยของกรมหมื่นพิทยาลงกรณ 
10 เรื่อง เมื่อพ.ศ. 2461  อ่านต่อ

บทที่เรื่อง อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

แนวคิด
อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ เพราะ
เป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ และ
ทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ
และยังเป็นหนังสือที่ดี ในทางที่ตะศึกษา
ประเพณีไทยสมัยโบราณ  แม้บทละครเรื่องอิเหนา
จะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของชาวชวา
เอกสารที่เกี่ยวข้องมีดังนี้อ่านต่อ


บทที่คำนมัสการคุณานุคุณ


           คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์
ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหา
ว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ
พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมาย
ให้ผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย ยึดมั่นในความกตัญญูต่อผู้มี
พระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม อ่านต่อ