บทที่4 เรื่อง นิราศนริทร์คำโคลง
ความเป็นมา
นิราศ
เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทย
ที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ
เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน
นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย
ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา อ่านต่อ
|
ความเป็นมา
นิราศ
เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทย
ที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ
เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน
นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย
ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา อ่านต่อ
|
ความเป็นมา
นิทานเวตาล ฉบับนิพนธ์
พระราชวงศ์เธอ
กรมหมื่นพิทยาลงกรณ
มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย
โดยมีชื่อเดิมว่า
“เวตาลปัญจวิงศติ” ศิวทาสได้แต่งไว้ใน
สมัยโบราณ
ต่อมาได้มีผู้นำนิทานเวตาลทั้งฉบับ
ภาษาสันสกฤตและภาษาฮินดี
มาแปลเป็นภาษาอังกฤษ โดย
ร้อยเอก เซอร์ ริชาร์ด เอฟ. เบอร์ตัน
ก็ได้นำมาแปลและเรียบเรียงแต่งแปลง
เป็นสำนวนภาษาของตนเอง
ให้คนอังกฤษอ่าน แต่ไม่ครบทั้ง 25 เรื่อง
กรมหมื่นพิทยาลงกรณ
ได้ทรงแปลนิทานเวตาลจากฉบับของเบอร์ตัน
จำนวน 9 เรื่องและจากฉบับแปลสำนวนของ
ซี. เอช. ทอว์นีย์ อีก 1 เรื่อง
รวมเป็นฉบับภาษาไทยของกรมหมื่นพิทยาลงกรณ
10 เรื่อง เมื่อพ.ศ. 2461 อ่านต่อ
|
แนวคิด
อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ
เพราะ
เป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ และ
ทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ
และยังเป็นหนังสือที่ดี ในทางที่ตะศึกษา
ประเพณีไทยสมัยโบราณ แม้บทละครเรื่องอิเหนา
จะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของชาวชวา
เอกสารที่เกี่ยวข้องมีดังนี้อ่านต่อ
|
คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์
ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหา
ว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ
พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมาย
ให้ผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย ยึดมั่นในความกตัญญูต่อผู้มี
พระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม อ่านต่อ
|